Skip to content

SocAntNet

กำหนดการงานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ห้องและพาแนลต่างๆ

วันที่

เวลา

พาแนล

ผู้นำเสนอบทความ

หัวข้อบทความ

ให้ความเห็นโดย

16 มิถุนายน

09:00-09:25 น.

เปิดงานสัมมนา

09:25-10:30 น.

ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “Care and Justice: Doing Anthropology in Virulent Times”
โดย Associate Profressor Dr.Bo Kyeong Seo
Department of Cultural Anthropology, Yonsei University, Seoul, South Korea

11:00-12:30 น.

โลกของการเมือง ความรุนแรง
และการต่อสู้ 1

วรพร 

พงษ์สามารถ

มีมในฐานะอาวุธของการต่อต้านทางการเมือง

รศ.ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปัณณธร 

ศรีเสน

เส้นทางการเรียนรู้ทางสังคมที่ติดตัวของเยาวชนคนรุ่นใหม่ รัฐ และเครือข่าย การพึ่งพิงต่อรองท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงการเมืองไทย

ธนพล พันธุ์งาม

พลังของการชุมนุมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์กรณีศึกษาการแสดงออกทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562 ถึงปรากฏการณ์ “Flash Mob”

โลกของ
สัญญภาวะ

พิชชาภา ทุมดี

คาเฟ่และร้านอาหาร “สไตล์จีน” ในฐานะพื้นที่แห่งการสร้างความรู้สึกเป็นจีน : ทบทวนการประกอบสร้างและนำเสนอความเป็นจีนในไทย

อ.ดร.กุลพธู 
ศักดิ์วิทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผศ.ดร.จันทนี เจริญศรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศุภรดา เฟื่องฟู

สิ่งศักดิ์สิทธิ์และสินค้า : กระบวนการแปรรูปและให้ความหมายแก่กัญชา ในกิจกรรมลักลอบผลิตและแปรรูปกัญชาอย่างผิดกฎหมาย ณ วัดแห่งหนึ่งในจังหวัดภาคกลาง

ยศกร เสมากูล

วัตถุแห่งการบริโภคของโบดริยารด์ : มโนทัศน์แห่งการวิจารณ์และต่อยอดมาร์กซิสม์

โลกของเวลา ประวัติศาสตร์
และความทรงจำ

กันต์ 

นาเมืองรักษ์

เขตแดนทางเวลาของสถานะ ‘ผู้เยาว์’ ในสังคมไทย : การแทรกแซงทางการเมืองต่อเทศะและความเป็นประวัติศาสตร์ของความเป็นไทยในการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักเรียนเลว

ผศ.ดร.ฐานิดา บุญวรรโณ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.ดร.ชาญ 
พนารัตน์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ภูริณัฐ  

พฤกษ์เนรมิตร

อาการ อารมณ์ และความทรงจำจากการถวิลหาอดีตในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2557 – 2562

13:30-15:00 น.

โลกของเศรษฐกิจ แรงงาน การผลิต และการบริโภค 1

บวรสรรพ์ เปรมปริก

การสร้างวัฒนธรรม “คราฟต์เบียร์” และกลยุทธ์การต่อรองของผู้ผลิตและผู้บริโภคในเมืองพิษณุโลกและเมืองแพร่

อ.ดร.ศิริมา 
ทองสว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.เก่งกิจ 
กิติเรียงลาภ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พิชญา ขัดสี

การสร้างภาพแทน “มินิมอลเกาหลี” ในร้านคาเฟ่ในเมืองพิษณุโลก

จิราภรณ์ 

ไพรเถื่อน

“ความเป็นอื่น” และการเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนมา
ที่ถูกกฎหมาย

โลกของเพศที่หลากหลาย
และเลื่อนไหล

วิมล โคตรทุมมี

“นายรำเกย์ผู้ไท” : เพศทางเลือกในสังคมชาติพันธุ์ภาคอีสาน

ผศ.ดร.กีรติ 
ชื่นพิทยาธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อ.ดร.ชีรา 
ทองกระจาย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อู่ธนา สุระดะนัย

โลกแห่งความบาป – รักร่วมเพศ : ในพระคริสตธรรมคัมภีร์

เชอริศา 

อินทร์พิมพ์

การรับรู้ของผู้หญิงข้ามเพศเกี่ยวกับความเป็นแม่และแม่กะเทยในสังคมไทยภายใต้ปิตาธิปไตยทุนนิยม

โลกของสุขภาพ เชื้อโรค
และเวชกรรม

ณัฐดนยา

 ทิพยจารุโภคา

มิติทางสังคม นิยาม และการประกอบสร้างความหมายที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์

รศ.ดร.ภาวิกา
 ศรีรัตนบัลล์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.ลือชัย
 ศรีเงินยวง มหาวิทยาลัยมหิดล

ฐิติมาศ คำวงษ์

สายเขียวตัวร้าย : พัฒนาการและสถานะการยอมรับกัญชาเพื่อนันทนาการในสังคมไทย

อภินันท์

 กาวินชัย

การเข้าถึงหลักประกันสุขภาพ และการปรับตัวของแรงงานข้ามชาติหญิงที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19

15:10-16:40 น.

โลกดิจิทัล

และโลกเสมือนจริง

ชนิกานต์ 

แสงนิล

หมอดูไพ่ยิปซี: การประกอบสร้างและการนำเสนออัตลักษณ์บนโลกดิจิทัล

อ.จตุรวิทย์ 
ทองเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผศ.อาจินต์
 ทองอยู่คง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มนทิชา 

วงศ์อินตา

คริปโตอาร์ต : อาณาบริเวณใหม่แห่งโลกศิลปะกับความเสื่อมสลายของออราแบบเก่า

โลกของผัสสะ

และผัสสารมย์

สถาพร 

จันทร์เทศ

ผัสสะและอารมณ์ ในความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กับเห็ดถอบในกรณีปัญหาฝุ่นควันจากไฟป่าในภาคเหนือของไทย

อ.ดร.ประชาธิป กะทา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อ.สรัญญา เตรัตน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

พรหมภัสสร สุทธิโยธา

อุดมการณ์ในผัสสะคราฟเบียร์

ธัญญาภรณ์ จันทรเวช

 และ นันท์นภัส

ปิ่นสุวรรณ์

“ผี” กับความหมายของคนตายในใจคนเป็น: พลังของการยังคงอยู่

17 มิถุนายน

08:00-08:50 น.

ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “Cosmopolitan Publics: A Transnational and Relational Approach”
โดย Assistant Professor Dr.Kei Takada
Honsei University, Research Center for International Japanese Studies in Tokyo, Tokyo, Japan

09:00-10:30 น.

โลกของชาติพันธุ์

ธัญชนก

 เกตุเพชร

การสร้างอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ “อาหารลาวเวียง” ในบริบทการท่องเที่ยว

รศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ผศ.ดร.พิเชฐ 
สายพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

พสินี 

ธีระกานตภิรัตน์

สถานการณ์ความขัดแย้งและการเลือกปฏิบัติทางสังคมต่อกลุ่มประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศอินเดีย ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัส

อรนุช เนาวเกตุ

Thai-Lua Swidden Cultivation System: Smoke that is Caught by a Sattlelite

โลกของเศรษฐกิจ แรงงาน การผลิต และการบริโภค 2

รัชดาภรณ์

 หาปู่ทน

ผู้ประกอบการชาวเมียนมาในจังหวัดขอนแก่น

อ.ดร.บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.ดร.ประกีรติ
 สัตสุต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วาสนา ศรีจำปา

เมืองและอาหาร : ความเปราะบางที่กลุ่มแรงงานต้องเผชิญ 

มงคลลักษณ์ มัทวพันธุ์

รูปแบบของความไม่มั่นคงในที่อยู่อาศัยของคนจนเมือง : กรณีศึกษาชุมชนคนจนเมืองย่านบึงกุ่ม-นวมินทร์

พาแนลพิเศษ
โลกของพื้นที่สร้างสรรค์ และการปกครอง
ชีวญาณ

วรรณวลี มหารงค์

คณะราษเก็ต: ประชาชนสเก็ตบอร์กับขบวนการประชาธิปไตย

ปิยเทพ 
ตันมหาสมุทร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อัศวาณี อาลี

อาภรณ์ที่เลือกและการสร้างภาพแทนของนักศึกษาหญิง มอ.ปัตตานี

อัสมา ซามูดิง

การสร้างรายได้ในโลกเสมือนโดยตัวตนที่ปรารถนา

มวยคำ ลุงแม่

มาตรฐาน GAP: เครื่องมือควบคุมและสะสมทุนแบบเสรีนิยมใหม่กรณีศึกษา เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักของโรงงานพืชผักสมบูรณ์ในจังหวัดเชียงใหม่

11:00-12:30 น.

โลกของพื้นที่ สถานที่ และ
การเคลื่อนย้าย

สุรัสวดี 

ปานเพ็ชร์

การกลายเป็นเมือง กระบวนการพัฒนาเมืองกับพื้นที่สาธารณะของกลุ่มคนที่อยู่อาศัยในเมือง

ผศ.ดร.บัณฑิต ไกรวิจิตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อ.อมต จันทรังษี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พรพิรุณ ชลาชัย

พื้นที่สาธารณะ : การเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ของกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ

อรีญา วิเศษคำ

ปฏิบัติการในชีวิตประจำวันของคนจนเมืองในการเดินทางภายใต้ความเหลื่อมล้ำของบริการขนส่งสาธารณะในกรุงเทพฯ

โลกของการเมือง ความรุนแรง และการต่อสู้ 2

ณัฐนิช ฉ่ำเฉื่อย

การจัดวางอุดมการณ์ผ่านพื้นที่พิธีกรรมหน้าเสาธงในโรงเรียนของรัฐไทย พ.ศ. 2551-2564

ผศ.ดร.กนกรัตน์ เลิศชูสกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โชติกา

 ศรีโพนทอง

เรื่องเล่าเผยอารมณ์ : เรื่องเล่า การเมืองเชิงสัญลักษณ์ และเพศ

ปพิชญานันท์ จารุอริยานนท์

ทำความเข้าใจการใช้มีมในการชุมนุม “เลิกเรียนไปกระทรวง” ของ “นักเรียนเลว”

พาแนลพิเศษ “โลกของความตาย”

นำเสนอโดย นิสิตปริญญาตรี ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.ภาวิกา 
ศรีรัตนบัลล์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.ศิริพงศ์ ปาลกะวงศ์
ณ อยุธยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13:30-15:00 น.

โลกของวิธีวิทยา

พงษ์เทพ

บุญกล้า

มานุษยวิทยาภาพถ่าย ภววิทยาความจน

 และผู้ไร้เสียง

รศ.ดร.จักรกริช สังขมณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อ.ดร.จิราพร 
เหล่าเจริญวงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิชยะพัฒน์
นัยสุภาพ

สัตว์กับวิชาประวัติศาสตร์ : พรมแดนความรู้ว่าด้วยมนุษย์ สัตว์ และตัวกระทำทางประวัติศาสตร์

สิกขา สองคำชุม

โลกวิทยาศาสตร์ที่แหลกสลาย : อัตชาติพันธุ์วรรณนาของอดีตนักเรียนทุนวิทยาศาสตร์ และบททดลองเสนอว่าด้วยภววิทยาของ STS

โลกของสื่อ ตัวบท เรื่องเล่า และวรรณกรรม

ทัศศิยาภรณ์ สุขสง

แนวคิดการเรียนรู้เพื่อบรรลุศาสตร์ต่าง ๆ และเป้าหมายแห่งชีวิต

รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รศ.ดร.ยุกติ 
มุกดาวิจิตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ทักษ์ดนัย 

รักตะวัต

Where we belong? การก่อร่างของพื้นที่ที่เรียกว่า “บ้าน” ผ่านภาพยนตร์

อธิภัทร 

เอิบกมล

ทัศนะทางสังคมในวรรณกรรมเพลงแร็ป 

(พ.ศ. 2554-2564)

พาแนลพิเศษ
โลกของปฏิภาคภาวะ (Intersectionality)

รุสละห์ จือมือรา

ความลังเลในการยอมรับวัคซีนของชาวบ้านมลายูกลุ่มหนึ่งใน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วรากร วิมุตติไชย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รัสเซีย หอมคง

หญิงไร้บ้าน : ประสบการณ์ชีวิตท่ามกลางความเสี่ยงและสุขภาพทางเพศ

มัสลีนา อาแว

ผู้หญิงมอต็อง(กรีดยาง)กับการคาดหวังบทบาทสามีในการเป็นผู้นำครอบครัวในชุมชนแห่งหนึ่ง อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

15:30-16:30 น.

เสวนาโต๊ะกลม “โลกพ้นอคติ : อุดมคติและวิธีวิทยาของการอยู่ร่วมกัน” ร่วมเสวนาโดย

1. ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

2. รศ.ดร.นฤมล อรุโณทัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ผศ.ดร.ประเสริฐ แรงกล้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

4. ผศ.ดร.ชลิตา บัณฑุวงศ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประชุมเครือข่ายสำหรับเตรียมงานครั้งถัดไป

16:30-17:00 น.

ประกาศรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น

17:00-17:30 น.

กล่าวสรุปและปิดงานสัมมนา