ประกาศผลบทความที่ได้รับคัดเลือกนำเสนองาน
สัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 22 ประจำปี 2566
หัวข้อ “Coexisting with (Un)certainty…สะท้อนย้อนคิดถึงความไม่/แน่นอน”
วันที่ 15 - 16 มิถุนายน 2566 ณ อาคารปราบไตรจักร 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร
พาเนล/ธีม | ชื่อบทความ | ผู้เขียนบทความ |
---|---|---|
พาแนล 1: การเมืองของพลเมืองตื่นรู้ | วัฒนธรรมทางการเมืองหลักของชาวบ้านอีสานในวันนี้: ส่งผลต่อดีต่อการพัฒนาประชาธิปไตยไทยมากน้อยเพียงใด? | วรัญญา ศรีริน |
คุณลักษณะความเป็นพลเมืองตื่นรู้ของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมในภาคเหนือ | สุเทพ คำเมฆ | |
ชาวประมงพื้นบ้านกับความซับซ้อนของอำนาจรัฐ | ชาญณรงค์ แคล่วคล่อง | |
การเมืองของชาวไร่อ้อย: พลวัตการ(ไม่)เผาอ้อย | ประกิต สารไธสงค์ | |
พาแนล 2: สูงอายุ พิการและสวัสดิการสังคม | สวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย: ทางเลือกหรือทางรอดกับการเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ | พัทธนันท์ อธิตัง และเจษฎา นกน้อย |
ถอดประสาทหูเทียม: บางเรื่องเล่าถึงเสียงในชุมชนคนหูหนวกไทย | วรัชญา ชาลี | |
บทสังเคราะห์: ทุนเพื่อการดำรงชีพของผู้พิการ | จิตติมา พัฒนธนาภา และวณิชชา ณรงค์ชัย | |
พาแนล 3: เมือง เมมโมรี่ มิวสิค | “เรื่องเล่า”: ความเปราะบางของชุมชนในพื้นที่เพิงพักชั่วคราว (กรณีน้ำท่วมเมืองอุบลฯ 2565) | โชติกา ศรีโพนทอง |
เมืองและความทรงจำ: บทสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วยความทรงจำร่วมสู่ข้อถกเถียงว่าด้วยความทรงจำร่วมเกี่ยวกับเมือง | ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย | |
พลวัตของดนตรีทางการเมือง | จักรี เมืองใจ | |
อีแทวอน คลาส: ภาพสะท้อนทางสังคมและการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมของเกาหลีใต้ | ปิยชัย นาคอ่อน | |
พาแนล 4: พลวัตความหมาย อัตลักษณ์ และภาพแทน | วัฒนธรรมน้ำจิ้ม: ความหมายและอัตลักษณ์ของน้ำจิ้มซีฟู้ดในสายตาของวัยรุ่น Gen Z | ศุภกานต์ ศรีคำมี |
มอญจุดลูกหนู การเปลี่ยนแปลงความหมาย และการธำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวมอญ | น้ำผึ้ง พลับนิล | |
แรงเสียดทานและสาวะทับซ้อนของการเป็นคนจีน: การวิเคราะห์วาทกรรมในภาพยนตร์ “เหลี่ยมโบตั๋น (Crazy Rich Asians)” และ “ชาง-ชี กับตำนานลับเท็นริงส์ (Shang-Chi and the Legend of the Ten Rings) | วชิรพล ชูตระกูล | |
บ้านนอกในกรุง บ้านทุ่งในเมือง: ภาพแทนความเป็นชนบทในวรรณกรรมเรื่อง “เนรเทศ” | ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ | |
พาแนล 5: เน็ตไอดอล ทวิตเตอร์และออนไลน์เทรนเนอร์ | อิทธิพลไอดอลเสมือนจริงต่อวัฒนธรรมกลุ่มแฟนคลับ กรณีศึกษากลุ่มแฟนคลับ Ensemble Stars | พิชชาพร คำทองดี |
ออนไลน์เทรนเนอร์ (Online Trainer): ตัวตน ชีวิตการออกกำลังกายบนโลกออนไลน์ผ่านความหลากหลายของสื่อ | ณัฐณิชา มีนาภา | |
วาทกรรมและปฏิบัติการของวาทกรรม Rape Culture บนทวิตเตอร์ | ศศิประภา ราชวงษ์ และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน | |
พาแนล 6: ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์/เกษตรอินทรีย์ และ Green Social Work | Exploring the Effectiveness of Green Social Work in Promoting Sustainable Development | N. Prashant |
สถานะ(รัฐ)ความรู้: การเข้า(ไม่)ถึง และ การ(ไม่)ริเริ่ม | อรนุช เนาวเกตุ | |
ปราการที่ชื่อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: วิทยาศาสตร์การเกษตรจากมือรัฐสู่เอกชน | กฤษตฤณ วีระฉันทะชาติ | |
พาแนล 7: หลายหลากฉากทัศน์ในความเป็นครอบครัว | น้ำตาและรอยยิ้ม: จุดเริ่มต้นเส้นทางชีวิตของครอบครัววัยรุ่นชานเมืองขอนแก่น กรณีศึกษา: ครอบครัววัยรุ่นมุ่งสร้างตัว | ชิศพลว์ หารี และวณิชชา ณรงค์ชัย |
แม่เลี้ยงเดี่ยวในชุมชนแรงงานข้ามชาติ: การบริหารจัดการทรัพย์สินและการดูแลบุตรในสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหญ่ของโรคโควิด – 19 ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ | สิตานันท์ สุวรรณศิลป์ | |
Why don’t you have children?: Microaggressions among childfree and strategies for negotiating | Kuntida Sriwichian | |
พาแนล 8: ภูมิทัศน์ความหลากหลายทางเพศ | รูปแบบของการเลือกปฏิบัติต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศในสถานศึกษาของไทยโดยการวิเคราะห์จากวรรณกรรมของประเทศไทยและต่างประเทศ | ปวีณ วรรคสังข์ และภาณุ สุพพัตกุล |
สำรวจและวิเคราะห์สำนึกทางกฎหมายเกี่ยวกับความเป็นธรรมชาติของเพศ: การกำหนดขอบความของ “การสมรส” ในคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ | นันทวัฒน์ ศักดิ์สกุลคุณากร | |
Chemsex: บทสำรวจภูมิทัศน์ ข้อถกเถียงและแนวทางการศึกษา | รัฐพล ก้อนคำ | |
พาแนล 9: ความงาม-ตัวตน-พฤติกรรม | การศึกษาวัฒนธรรมความงามแบบเกาหลีที่ถูกส่งผ่านมายังประเทศไทย:กระบวนการทำให้กลายเป็นท้องถิ่นของวัฒนธรรมการแต่งหน้าเกาหลี และการปรับตัวของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย | ปริยากร พันธุ์สุข |
สาเหตุและพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐานของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก | อิสรีย์ จันทร์นิล และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน | |
พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก | วรัญญา ภู่หว่าง และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน | |
วัยรุ่นกับบุหรี่ไฟฟ้า: ตัวตนและความหมายในวัฒนธรรมสมัยนิยม | ทศพล นวลเจริญ | |
พาแนล 10: วัฒนธรรมของมนุษย์กับโลกของสิ่งมีชีวิตต่างสายพันธุ์ | ดวงออนไลน์” การเปลี่ยนวัฒนธรรมสู่การเป็นสินค้าแบบ Digital Culture Product | อัสมาภรณ์ อุรัตน์ และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน |
การขอพรความรักจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์: กรณีศึกษาพระตรีมูรติ ณ เซ็นทรัลเวิลด์ และพระแม่ลักษมี ณ เกษรวิลเลจ | นุชนารถ หล้าแหล่ง | |
วิฬาร์ไทยไร้บ้าน: ว่าด้วยสัตว์จรจัดที่(อาจ)มิได้เป็นปัญหาของสังคมมนุษย์อย่างตายตัว | รุอร พรหมประสิทธิ์ | |
พาแนล 11: นะโม พุทธายะ ศาสนะแบบไทย | ศาสนศึกษาแบบสมัยใหม่: การเรียนศาสนาในมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ในวัด | ชานนท์ ลัภนะทิพากร |
ย่างก(ร)ายบนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์: หวนทวนการก่อตัวของความอดกลั้นต่อความเจ็บปวด | ตะวันวาด กิติดำรงสุข | |
กลุ่มบุญ”: ความหลากหลายของความเชื่อเรื่องบุญและการปรับเปลี่ยนเพื่อดำรงอยู่ | ปภาดา วิชัยดิษฐ | |
ท้าวเวสสุวรรณกับความหวังของผู้คนในภาวะการแพร่ระบาดของโควิด-19 | พระมหาสุบงกช นิสมฺมกาโร (พันธ์คำภา) | |
พาแนล 12: เงินเท่านั้นที่น็อคเอเวอรี่ติง เกมเท่านั้นที่ทำให้โบยบิน | สังคมการเมืองของเงินเสมือน: บทสํารวจวรรณกรรม Bitcoin และ Cryptocurrency | นลินรัตน์ เลิศลีลาวิราม |
No Man’s Sky เกมสร้างเมืองอวกาศ/เมืองโบราณอวกาศในโลกเสมือน | วิรัญจ์ ศรีบวรปราชญ์ | |
เกมแนว MMORPG ในฐานะพื้นที่ของการหลีกหนี | ภานรินทร์ วิวัฒน์พาณิชย์ | |
ขยายชีวิตของทุเรียน: กระบวนการกลายเป็นสินค้าในความไม่แน่นอน | Wu Tong | |
พาแนล 13: ชาติ เยาวชน หน้าเสาธงและรัฐไทย | ขบวนการเยาวชนไทยกับการเคลื่อนไหวเรียกร้องการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ | ธนพล พันธุ์งาม |
อุดมการณ์ของรัฐไทยและการจัดวางอุดมการณ์บนพื้นที่หน้าเสาธงโรงเรียนรัฐบาล | ณัฐนิช ฉ่ำเฉื่อย | |
การช่วงชิงความหมายชาติไทย: ผ่านการทวนนิยาม “ชาติ” ของปัญญาชนในประวัติศาสตร์การเมืองไทย | อภิรักษ์ พูลอำไพ | |
พาแนล 14: Divided World/Multispecies/Companion Species | เมื่อโลกใบนี้ถูกแบ่งเป็นเป็นสอง | สิทธา พสุทันท์ |
ศิลปะของมนุษย์และเพื่อนต่างสายพันธุ์ | วรพร พงษ์สามารถ | |
คนและลิง: ความสัมพันธ์หลากรูปแบบของมนุษย์และสิ่งชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม | จิรวัฒน์ มนตรีสา | |
พาแนล 15: แรงงานย้ายถิ่น-แรงงานข้ามชาติ: โควิด ค่าจ้างและความจน | สถานภาพองค์ความรู้ทางสังคมวิทยาในการศึกษาความยากจน | นุชนารถ สมควร และรักชนก ชำนาญมาก |
ความเหลื่อมล้ำของค่าจ้างแรงงานหญิงอีสานย้ายถิ่นในพื้นที่ปลายทาง | กิตติพิชญ์ พรหมโคตร, ดุษฎี อายุวัฒน์ และภาณุ สุพพัตกุล | |
แรงงานข้ามชาติกับสภาวะการถูกกดทับภายใต้สภาวการณ์โรคระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19: กรณีศึกษาแรงงานข้ามชาติภาคเกษตรและอุตสาหกรรมในแม่สอด จ.ตาก | ภัทรวดี อบอาย | |
พาแนล 16: กลยุทธ์ ต่อรอง องค์กรและผู้ประกอบการ | กลยุทธ์การเจรจาต่อรองด้วยทักษะการสื่อสารเพื่อลดความขัดแย้งในองค์การ | ทักษิณา สิทธิผล และเจษฎา นกน้อย |
กลยุทธ์ การต่อรอง ความไม่แน่นอนในตลาดอัญมณี สีลม | ชีวินธา บุญ-หลง | |
Support System for Foreign Entrepreneurs in Thailand | Poonam Ingle, Dusadee Ayuwat and Rukchanok Chumnanmak | |
ผู้ประกอบการชาวเมียนมา (ในฐานะเศรษฐกิจนอกระบบ) | รัชดาภรณ์ หาปู่ทน | |
พาแนล 17: ซอโหลด้อยคุณภาพ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและการดรอปเอ้าท์ | สาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหาเด็กหลุดจากระบบการศึกษา: กรณีศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมือง Montserrado ประเทศไลบีเรีย | Hassan D Kaba |
ช่องว่างทางดิจิทัล: ชนยุคดิจิทัลผู้ไม่เคยอยู่ในความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา | ปฏิภาณ ผลมาตย์ | |
ซอโหล: ซอด้อยคุณภาพที่ขาดไม่ได้ | ทัชรินทร์ แมสซิลี | |
พาแนล 18: ความเปราะบางหรือความยั่งยืนในโลกทุนนิยม | เส้นทางชีวิตการทำงานและสวัสดิการไรเดอร์-อิสระที่เปราะบาง: กรณีศึกษา ไรเดอร์ส่งอาหารในจังหวัดพิษณุโลก | ปณิดา ใจมั่น และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน |
เศรษฐธรรมของออแพร์: ตำแหน่งแห่งที่และการต่อรองของพี่เลี้ยงเด็กชาวไทยในสหรัฐอเมริกา | ธมน ประทุมรัตน์ | |
วัฒนธรรมการนอนในโลกทุนนิยม: ข้อเสนอสู่สมดุลการดำเนินชีวิตกับการนอนในโลกทุนนิยม | ธรรมปพน ทรงธิบาย | |
โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ: การพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือตราบาปอันขมขื่นจากเสรีนิยมใหม่ | ณัฐธชนพงศ์ เธียรวรคุณ |