กำหนดการ
โครงการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2566
หัวข้อ “Coexisting with (Un)certainty…สะท้อนย้อนคิดถึงความไม่/แน่นอน”
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2566
ณ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วันพฤหัสบดีที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2566
เวลา | กิจกรรม | สถานที่ |
---|---|---|
08:30-9:00 น. | ลงทะเบียน | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
09:00-9:30 น. | กล่าวรายงาน โดย คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร | ปราบไตรจักร 2-311 (ห้องกิจกรรม) และ ปราบ 2-309 (ห้องถ่ายทอด) |
กล่าวต้อนรับ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวเปิดงาน โดย ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) | ||
คณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรมอบของที่ระลึกแด่ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) | ||
9:30 – 11:00 น. | เสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ “Uncertainty in Aesthetics, Inequality and Life”: ความไม่แน่นอนในสุนทรียศาสตร์: ความไม่เท่าเทียมและชีวิต - อาจารย์ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ผศ.ดร.บัณฑิต ไกรวิจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี - ดร.ศยามล เจริญรัตน์ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - รศ.ดร.มนตรา พงษ์นิล คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ดำเนินรายการโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พุทธพล มงคลวรวรรณ | ปราบไตรจักร 2-311 (ห้องกิจกรรม) และ ปราบ 2-309 (ห้องถ่ายทอด) |
11:00 - 11:10 น. | พักรับประทานอาหารว่าง | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
11:10 – 12:40 น. | พาเนล 1 “การเมืองของพลเมืองตื่นรู้” - วัฒนธรรมทางการเมืองหลักของชาวบ้านอีสานในวันนี้: ส่งผลต่อดีต่อการพัฒนาประชาธิปไตยไทยมากน้อยเพียงใด? โดย วรัญญา ศรีริน - คุณลักษณะความเป็นพลเมืองตื่นรู้ของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมในภาคเหนือ โดย สุเทพ คำเมฆ - การเมืองของชาวไร่อ้อย: พลวัตการ(ไม่)เผาอ้อย โดย ประกิต สารไธสงค์ ให้ความเห็นโดย ผศ.ดร.รักชนก ชำนาญมาก และ ผศ.ดร.วีระ หวังสัจจะโชค ดำเนินรายการโดย อาจารย์ดารุณี สมศรี | ปราบไตรจักร 2-301 |
พาเนล 2 “สูงอายุ พิการและสวัสดิการสังคม” - สวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย: ทางเลือกหรือทางรอดกับการเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดย พัทธนันท์ อธิตัง และเจษฎา นกน้อย - ถอดประสาทหูเทียม: บางเรื่องเล่าถึงเสียงในชุมชนคนหูหนวกไทย โดย วรัชญา ชาลี - บทสังเคราะห์: ทุนเพื่อการดำรงชีพของผู้พิการ โดย จิตติมา พัฒนธนาภา และวณิชชา ณรงค์ชัย ให้ความเห็นโดย รศ. ดร.ชไมพร กาญจนกิจสกุล และรศ.ดร.พิษนุ อภิสมาจารโยธิน ดำเนินรายการโดย ผศ.ชาญณวุฒ ไชยรักษา | ปราบไตรจักร 2-302 | |
พาเนล 3 “เมือง เมมโมรี่ มิวสิค” - “เรื่องเล่า”: ความเปราะบางของชุมชนในพื้นที่เพิงพักชั่วคราว (กรณีน้ำท่วมเมืองอุบลฯ 2565) โดย โชติกา ศรีโพนทอง - เมืองและความทรงจำ: บทสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วยความทรงจำร่วม สู่ข้อถกเถียงว่าด้วยความทรงจำร่วมเกี่ยวกับเมือง โดย ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย - พลวัตของดนตรีทางการเมือง โดย จักรี เมืองใจ - อีแทวอน คลาส: ภาพสะท้อนทางสังคมและการแพร่กระจายทางวัฒนธรรมของเกาหลีใต้ โดย ปิยชัย นาคอ่อน ให้ความเห็นโดย อ.ดร.กมเลศ โพธิกนิษฐ (บทความ 1-4), รศ.ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา (บทความ 1-3) และรศ.ดร.จักรกริช สังขมณี (บทความ 4) ดำเนินรายการโดย อ.ดร.พลดา เดชพลมาตย์ | ปราบไตรจักร 2-303 | |
พาเนล 4 “พลวัตความหมาย อัตลักษณ์ และภาพแทน” - มอญจุดลูกหนู การเปลี่ยนแปลงความหมาย และการธำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวมอญ โดย น้ำผึ้ง พลับนิล - แรงเสียดทานและสภาวะทับซ้อนของการเป็นคนจีน: การวิเคราะห์วาทกรรมในภาพยนตร์ “เหลี่ยมโบตั๋น (Crazy Rich Asians)” และ “ชาง-ชี กับตำนานลับเท็นริงส์ (Shang-Chi and the Legend of the Ten Rings)” โดย วชิรพล ชูตระกูล - บ้านนอกในกรุง บ้านทุ่งในเมือง: ภาพแทนความเป็นชนบทในวรรณกรรมเรื่อง “เนรเทศ” โดย ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ ให้ความเห็นโดย รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร และ อ.ดร.ชัยพงษ์ สำเนียง ดำเนินรายการโดย คุณณัฐนิช ฉ่ำเฉื่อย | ปราบไตรจักร 2-304 | |
พาเนล 5 “เน็ตไอดอล ทวิตเตอร์และออนไลน์เทรนเนอร์” - ออนไลน์เทรนเนอร์ (Online Trainer): ตัวตน ชีวิตการออกกำลังกายบนโลกออนไลน์ผ่านความหลากหลายของสื่อ โดย ณัฐณิชา มีนาภา - วาทกรรมและปฏิบัติการของวาทกรรม Rape Culture บนทวิตเตอร์ โดย ศศิประภา ราชวงษ์ และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน ให้ความเห็นโดย อ.ดร.เสาวลักณ์ ลิ้มศิริวงศ์ และ อ.ดร.นพรัตน์ รัตนประทุม ดำเนินรายการโดย คุณภานรินทร์ วิวัฒน์พาณิช | ปราบไตรจักร 2-305 | |
Poster Presentation ที่โถงชั้น 1 อาคารปราบไตรจัก 2 ตลอดทั้งวัน กรรมการตัดสิน 1) ผศ.อำนวย พิรุณสาร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2) ผศ.ดร.จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3) ผศ.ดร.ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | ||
12:40 – 13.:30 น. | รับประทานอาหารเที่ยง | โถงชั้นหนึ่ง ปราบไตรจักร 2 |
13:30 – 15:00 น. | พาเนล 6 “ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์/เกษตรอินทรีย์ และ Green Social Work” - Exploring the Effectiveness of Green Social Work in Promoting Sustainable Development โดย N. Prashant - สถานะ(รัฐ)ความรู้: การเข้า(ไม่)ถึงและการ(ไม่)ริเริ่ม โดย อรนุช เนาวเกตุ - ปราการที่ชื่อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: วิทยาศาสตร์การเกษตรจากมือรัฐสู่เอกชน โดย กฤษตฤณ วีระฉันทะชาติ ให้ความเห็นโดย อ.ดร.อัครพงษ์ เพ็ชรพูล และ อ.ดร.ภาวัช วิจารัตน์ ดำเนินรายการโดย ผศ.ชาญณวุฒ ไชยรักษา | ปราบไตรจักร 2-301 |
พาเนล 7 “หลายหลากฉากทัศน์ในความเป็นครอบครัว” - น้ำตาและรอยยิ้ม: จุดเริ่มต้นเส้นทางชีวิตของครอบครัววัยรุ่นชานเมืองขอนแก่น กรณีศึกษา: ครอบครัววัยรุ่นมุ่งสร้างตัว โดย ชิศพลว์ หารี และวณิชชา ณรงค์ชัย - แม่เลี้ยงเดี่ยวในชุมชนแรงงานข้ามชาติ: การบริหารจัดการทรัพย์สินและการดูแลบุตรในสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหญ่ของโรคโควิด-19 ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ โดย สิตานันท์ สุวรรณศิลป์ - Why don’t you have children?: Microaggressions among childfree and strategies for negotiating โดย Kuntida Sriwichian ให้ความเห็นโดย ผศ.ดร.ปาณิภา สุขสม และ ผศ.ดร.ปณิธี บราวน์ ดำเนินรายการโดย อาจารย์รสสุคนธ์ ประดิษฐ์ | ปราบไตรจักร 2-302 | |
พาเนล 8 “ภูมิทัศน์ความหลากหลายทางเพศ” - บทบาทของสถานศึกษาไทยในการเลือกปฏิบัติและความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศในสถานศึกษาของไทย: โดยการวิเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไทยและต่างประเทศ โดย ปวีณ วรรคสังข์ และภาณุ สุพพัตกุล - สำรวจและวิเคราะห์สำนึกทางกฎหมายเกี่ยวกับความเป็นธรรมชาติของเพศ: การกำหนดขอบความของ “การสมรส” ในคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ โดย นันทวัฒน์ ศักดิ์สกุล-คุณากร - Chemsex: บทสำราจภูมิทัศน์ ข้อถกเถียงและแนวทางการศึกษา โดย รัฐพล ก้อนคำ ให้ความเห็นโดย อ.ดร.วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ และอ.ดร.ชีรา ทองกระจาย ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.วัลลภัช สุขสวัสดิ์ | ปราบไตรจักร 2-303 | |
พาเนล 9 “ความงาม-ตัวตน-พฤติกรรม” - การศึกษาวัฒนธรรมความงามแบบเกาหลีที่ถูกส่งผ่านมายังประเทศไทย: กระบวนการทำให้กลายเป็นท้องถิ่นของวัฒนธรรมการแต่งหน้าเกาหลี และการปรับตัวของอุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทย โดย ปริยากร พันธุ์สุข - สาเหตุและพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐานของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก โดย อิสรีย์ จันทร์นิล และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน - พฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก โดย วรัญญา ภู่หว่าง และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน - วัยรุ่นกับบุหรี่ไฟฟ้า: ตัวตนและความหมายในวัฒนธรรมสมัยนิยม โดย ทศพล นวลเจริญ ให้ความเห็นโดย รศ.ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล และ ศ.ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ ดำเนินรายการโดย อ.ดร.นพรัตน์ รัตนประทุม | ปราบไตรจักร 2-304 | |
พาเนล 10 “วัฒนธรรมของมนุษย์กับโลกของสิ่งมีชีวิตต่างสายพันธุ์” - “ดวงออนไลน์” การเปลี่ยนวัฒนธรรมสู่การเป็นสินค้าแบบ Digital Culture Product โดย อัสมาภรณ์ อุรัตน์ และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน - วิฬาร์ไทยไร้บ้าน: ว่าด้วยสัตว์จรจัดที่(อาจ)มิได้เป็นปัญหาของสังคมมนุษย์อย่างตายตัว โดย รุอร พรหมประสิทธิ์ ให้ความเห็นโดย ผศ.ดร.ประกีรติ สัตสุต และ ผศ.ดร.ปุณณฑีร์ เจียวิริยะบุญญา ดำเนินรายการโดย คุณอารมณ์ ชาญกูล | ปราบไตรจักร 2-305 | |
15:00 - 15:10 น. | พักรับประทานอาหารว่าง | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
15.10 – 16.30 น. | Keynote Speaker 1 Professor Dr. Agnieszka Joniak-Lüthi ศาสตราจารย์มานุษยวิทยาสังคม มหาวิทยาลัย ฟริบูร์ก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หัวข้อ “Ethnicising Infrastructure: Roads, Railways and Differential Mobility in Northwest China” ดำเนินรายการโดย อ.ดร.ปัทมนันท์ ปุณเสรีพิพัฒน์ | ปราบไตรจักร 2-311 (ห้องกิจกรรม) และ ปราบ 2-309 (ห้องถ่ายทอด) |
17.00 – 20.00 น. | งานเลี้ยงรับรองเครือข่าย | ร้านอาหารฟ้าไทยฟาร์ม |
วันศุกร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2566
เวลา | กิจกรรม | สถานที่ |
---|---|---|
8:30-9:00 น. | ลงทะเบียน | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
09:00-10:20 น. | Keynote Speaker Dr. Gabriel Facal รองผู้อำนวยการ IRASEC Thailand หัวข้อ “Is There a Compass in the Face of Systematic Uncertainties? At the Interface of Individual, Local, and Global Scales” ดำเนินรายการโดย อ.ดร.ปัทมนันท์ ปุณเสรีพิพัฒน์ | ปราบไตรจักร 2-311 (ห้องกิจกรรม) และ ปราบ 2-309 (ห้องถ่ายทอด) |
10:00-10:30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
10:30-12:00 น. | พาเนล 11: “นะโม พุทธายะ ศาสนะแบบไทย” - ศาสนศึกษาแบบสมัยใหม่: การเรียนศาสนาในมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่ในวัด โดย ชานนท์ ลัภนะทิพากร - ย่างก(ร)ายบนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์: หวนทวนการก่อตัวของความอดกลั้นต่อความเจ็บปวด โดย ตะวันวาด กิติดำรงสุข - กลุ่มบุญ”: ความหลากหลายของความเชื่อเรื่องบุญและการปรับเปลี่ยนเพื่อดำรงอยู่ โดย ปภาดา วิชัยดิษฐ ให้ความเห็นโดย อ.ดร.ณีรนุช แมลงภู่ และ อ.ดร.ภานุ สุพพัตกุล ดำเนินรายการโดย ผศ.ธัญวดี กำจัดภัย | ปราบไตรจักร 2-301 |
พาเนล 12 “เงินเท่านั้นที่น็อคเอเวอรี่ติง เกมเท่านั้นที่ทำให้โบยบิน” - สังคมการเมืองของเงินเสมือน: บทสํารวจวรรณกรรม Bitcoin และ Cryptocurrency โดย นลินรัตน์ เลิศลีลาวิราม - No Man’s Sky เกมสร้างเมืองอวกาศ/เมืองโบราณอวกาศในโลกเสมือน โดย วิรัญจ์ ศรีบวรปราชญ์ - เกมแนว MMORPG ในฐานะพื้นที่ของการหลีกหนี โดย ภานรินทร์ วิวัฒน์พาณิชย์ - ขยายชีวิตของทุเรียน: กระบวนการกลายเป็นสินค้าในความไม่แน่นอน โดย Wu Tong ให้ความเห็นโดย รศ.ดร.วสันต์ ปัญญาแก้ว และ อ.ดร.ปัทมนันท์ ปุณเสรีพิพัฒน์ ดำเนินรายการโดย อาจารย์ดารุณี สมศรี | ปราบไตรจักร 2-302 | |
พาเนล 13 “ชาติ เยาวชน หน้าเสาธงและรัฐไทย” - ขบวนการเยาวชนไทยกับการเคลื่อนไหวเรียกร้องการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ โดย ธนพล พันธุ์งาม - อุดมการณ์ของรัฐไทยและการจัดวางอุดมการณ์บนพื้นที่หน้าเสาธงโรงเรียนรัฐบาล โดย ณัฐนิช ฉ่ำเฉื่อย - การช่วงชิงความหมายชาติไทย: ผ่านการทวนนิยาม “ชาติ” ของปัญญาชนในประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย อภิรักษ์ พูลอำไพ ให้ความเห็นโดย ผศ. ดร.ชลิตา บัญฑุวงศ์ และ รศ. ดร.วัชรพล พุทธรักษา ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.ณัฏฐินี ปิยะศิริพนธ์ | ปราบไตรจักร 2-303 | |
พาเนล 14 “Divided World/Multispecies/Companion Species” - ศิลปะของมนุษย์และเพื่อนต่างสายพันธุ์ โดย วรพร พงษ์สามารถ - คนและลิง: ความสัมพันธ์หลากรูปแบบของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม โดย จิรวัฒน์ มนตรีสา ให้ความเห็นโดย รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และ รศ.ดร.จักรกริช สังขมณี ดำเนินรายการโดย คุณปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย | ปราบไตรจักร 2-304 | |
พาเนล 15 “แรงงานย้ายถิ่น-แรงงานข้ามชาติ: โควิด ค่าจ้างและความจน” - สถานภาพองค์ความรู้ทางสังคมวิทยาในการศึกษาความยากจน โดย นุชนารถ สมควร และรักชนก ชำนาญมาก - ความเหลื่อมล้ำของค่าจ้างแรงงานหญิงอีสานย้ายถิ่นในพื้นที่ปลายทาง โดย กิตติพิชญ์ พรหมโคตร, ดุษฎี อายุวัฒน์ และภาณุ สุพพัตกุล - แรงงานข้ามชาติกับสภาวะการถูกกดทับภายใต้สภาวการณ์โรคระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19: กรณีศึกษาแรงงานข้ามชาติภาคเกษตรและอุตสาหกรรมในแม่สอด จ.ตาก โดย ภัทรวดี อบอาย ให้ความเห็นโดย อ.ดร.จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ และ ผศ.ดร.วิจิตร ประพงษ์ ดำเนินรายการโดย คุณประกิต สารไธสงค์ | ปราบไตรจักร 2-305 | |
พาเนล 16 “กลยุทธ์ ต่อรอง องค์กรและผู้ประกอบการ” - กลยุทธ์การเจรจาต่อรองด้วยทักษะการสื่อสารเพื่อลดความขัดแย้งในองค์การ โดย ทักษิณา สิทธิผล และเจษฎา นกน้อย - กลยุทธ์ การต่อรอง ความไม่แน่นอนในตลาดอัญมณี สีลม โดย ชีวินธา บุญ-หลง - Support System for Foreign Entrepreneurs in Thailand โดย Poonam Ingle, Dusadee Ayuwat and Rukchanok Chamnanmak - ผู้ประกอบการชาวเมียนมา (ในฐานะเศรษฐกิจนอกระบบ) โดย รัชดาภรณ์ หาปู่ทน ให้ความเห็นโดย อ.ดร.จิรวัฒน์ รักชาติ และ ผศ.ดร.กาญภัสรา กษมาจารุพัชร ดำเนินรายการโดย อ.ดร.นัฐพร โอภาสานนท์ | ปราบไตรจักร 2-306 | |
พาเนล 17 “ซอโหลด้อยคุณภาพ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและการดรอปเอ้าท์” - สาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหาเด็กหลุดจากระบบการศึกษา: กรณีศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมือง Montserrado ประเทศไลบีเรีย โดย Hassan D Kaba - ช่องว่างทางดิจิทัล: ชนยุคดิจิทัลผู้ไม่เคยอยู่ในความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดย ปฏิภาณ ผลมาตย์ -ซอโหล: ซอด้อยคุณภาพที่ขาดไม่ได้ โดย ทัชรินทร์ แมสซิลี ให้ความเห็นโดย ดร.นิสาพร วัฒนศัพท์ และ ผศ.ดร.ฟ้ารุ่ง มีอุดร ดำเนินรายการโดย อ.ดร.เสาวลักณ์ ลิ้มศิริวงศ์ | ปราบไตรจักร 2-307 | |
พาเนล 18 “ความเปราะบางหรือความยั่งยืนในโลกทุนนิยม” - เส้นทางชีวิตการทำงานและสวัสดิการไรเดอร์-อิสระที่เปราะบาง: กรณีศึกษาไรเดอร์ส่งอาหารในจังหวัดพิษณุโลก โดย ปณิดา ใจมั่น และพิษนุ อภิสมาจารโยธิน - เศรษฐธรรมของออแพร์: ตำแหน่งแห่งที่และการต่อรองของพี่เลี้ยงเด็กชาวไทยในสหรัฐอเมริกา โดย ธมน ประทุมรัตน์ - วัฒนธรรมการนอนในโลกทุนนิยม: ข้อเสนอสู่สมดุลการดำเนินชีวิตกับการนอนในโลกทุนนิยม โดย ธรรมปพน ทรงธิบาย - โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ: การพัฒนาอย่างยั่งยืนหรือตราบาปอันขมขื่นจากเสรีนิยมใหม่ โดย ณัฐธชนพงศ์ เธียรวรคุณ ให้ความเห็นโดย ผศ.ดร.วัชรพล ศุภจักรวัฒนา และ ผศ.ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล ดำเนินรายการโดย อ.ดร.กมเลศ โพธิกนิษฐ | ปราบไตรจักร 2-308 | |
12:00–13.00 น. | รับประทานอาหารกลางวัน | โถงชั้น 1 ปราบไตรจักร 2 |
13:00-14:30 น. | เสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ “Uncertainty in Gender, Insecurity and Labor”: ความไม่แน่นอนในด้านเพศสภาพ: ความไม่มั่นคงและแรงงาน - อ.ดร.วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ผศ.นฤมล กล้าทุกวัน สำนักวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ - ผศ.ดร.รักชนก ชำนาญมาก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - รศ.ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ดำเนินรายการโดย คุณอรนุช เนาวเกตุ หลักสูตรพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร | ปราบไตรจักร 2-311 (ห้องกิจกรรม) และ ปราบ 2-309 (ห้องถ่ายทอด) |
13:00-14:00 น. | ประชุมผู้แทนเครือข่ายเพื่อเสนอชื่อสถาบันที่จะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 23 ในปี 2567 และถอดบทเรียนงานสัมมนาฯ ครั้งที่ 22 | ห้องประชุมราชพฤกษ์ 1 คณะสังคมศาสตร์ |
14.:30-14.40 น. | พักรับประทานอาหารว่าง | ปราบไตรจักร 2 ชั้น 3 |
14:40-15:30 น. | พิธีมอบรางวัล Poster Presentation พิธีมอบเกียรติบัตร พิธีปิด พร้อมมอบเจ้าภาพจัดงานสัมมนาเครือข่ายครั้งต่อไปปี 2567 | ปราบไตรจักร 2-311 |